บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อ.ตฤณ แจ่มถิน
วันศุกร์ที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
ครั้งที่ 5 เวลาเรียน 13.10 - 16.40 น.
เวลาเข้าสอน 13.10 น. เวลาเข้าเรียน 13.00 น. เวลาเลิกเรียน 15.10 น.
อาจารย์ให้นัศึกษาวาดรูปสิ่งของที่ตัวเองรักมากที่สุดตอนเด็กๆแล้วออกมาเล่าให้เพื่อนๆฟัง
ชื่อว่า ตุ๊กตาบาร์บี้
เป็นตุ๊กตาที่คุณแม่ซื้อให้ตอนเด็กๆ ดิฉันชอบมาก ชอบมานั่งแต่งตัวให้มัน ทำผมให้มันเมันก็หายไปไหนเล่นมาตั้งแต่อยู่ ป.3 เลิกเล่นตอนประมาณ ม.3 ปัจจุบันเจ้าตุ๊กตาก็หายไปไหนแล้วไม่รู้คะ
เรียนเรื่อง : องค์ประกอบของภาษา
อาจารย์ให้นัศึกษาวาดรูปสิ่งของที่ตัวเองรักมากที่สุดตอนเด็กๆแล้วออกมาเล่าให้เพื่อนๆฟัง
ชื่อว่า ตุ๊กตาบาร์บี้
เป็นตุ๊กตาที่คุณแม่ซื้อให้ตอนเด็กๆ ดิฉันชอบมาก ชอบมานั่งแต่งตัวให้มัน ทำผมให้มันเมันก็หายไปไหนเล่นมาตั้งแต่อยู่ ป.3 เลิกเล่นตอนประมาณ ม.3 ปัจจุบันเจ้าตุ๊กตาก็หายไปไหนแล้วไม่รู้คะ
เรียนเรื่อง : องค์ประกอบของภาษา
องค์ประกอบของภาษามี 4 อย่าง
- Phonology คือ เสียง
- Semantic
- Syntax
- Pragmatic
- แนวคิดกลุ่มพฤติกรรมนิยม
- แนวคิดกลุ่มพัฒนาการทางสติปัญญา
- แนวคิดกลุ่มที่เชื่อเรื่องความพร้อมของร่างกาย
- แนวคิดกลุ่มที่เชื่อว่าภาษาติดตั้งมาตั้งแต่เกิด
แนวคิดของ O. Hobart Mowrer
เป็นนักคิดค้นทฤษฎีเกี่ยวกับความพึงพอใจ
- เกิดจากความสามารถในการฟังและความเพลิดเพลินจากการได้ยินเสียงผู้อื่นและเสียงตัวเอง เป็งสิ่งสำคัญอย่างยิ่งต่อพัฒนาการทางภาษา
แนวทางในการจัดประสบการณ์ทางภาษา
- เป็นคำสั่งที่สะท้อนปรัชญาและความเชื่อของครูเกี่ยวกับการเรียนรู้ภาษาของเด็ก
- นำไปสู่การกำหนดกระบวนการที่ใช่อย่างแตกต่างกัน
Richard and Rodger ( 1995 ) ได้แบ่งมุมมองต่อภาษาในการจัดประสบการณ์เป็น 3 กลุ่ม
1. มุมมองด้านโครงสร้างของภาษา
- นำองค์ประกอบย่อยของภาษามาใช้ในการสื่อสารความหมาย
- เสียงไวยากรณ์ การประกอบคำเป็นวลีหรือประโยค
2. มุมมองด้านหน้าที่ของภาษา
- เชื่อว่าภาษาเป็นเครื่องมือสำหรับสื่อความหมาย
- การจัดประสบการณ์เน้นการสื่อความหมาย
- ไม่ได้ละทิ้งแบบแผนหรือไวยากรณ์
3. มุมมองด้านปฏิสัมพันธ์
- เชื่อว่าภาษาเป็นเครื่องมือในการสร้างความสัมพันธ์ทางสังคม
- การแลกเปลี่ยนประสบการณ์
- เด็กมีปฏิสัมพันธ์ผ่านการใช้ภาษา
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น