ยินดีตอนสู่บล็อกสุนิสา

ยินดีตอนรับสู่บล็อกสุนิสา

วันจันทร์ที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

บันทึกครั้งที่่  6


บันทึกอนุทิน
วิชา  การจัดระสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อ.ตฤณ  แจ่มถิน
วันศุกร์ที่  19  กรกฎาคม  2556
ครั้งที่  6  เวลาเรียน  13.10 - 16.40 น.
เวลาเข้าสอน  13.10  เวลาเข้าเรียน 13.00 เวลาเลิกเรียน  16.40


แนวทางการจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย

   
 ก่อนที่จะเรียนอาจารย์ให้ฝึกอ่านคำกับภาพที่นำมารวมเป็นเรื่องราว

น้องมาลีเธอช่างโอโมเราเลยหลงรักเห็นแล้วอยากใกล้ชิด
และอยากเทคแคร์แต่แม่เธอคือมาดามเฮงซึ่งมีเซฟการ์สคอยป้องกัน
น้องอยู่ตลอดส่วนเรามันก็แค่ชาวเกาะเราเลยต้องทำใจ

1.การจัดประสบการณ์ทางภาษาที่เน้นทักษะทางภาษา (Skill Approach)
  •  ให้เด็กรู้จักส่วนย่อยๆของภาษา
  •   การประสมคำ
  •   ความหมายของคำ
  •   นำคำมาประกอบเป็นประโยค
  •   การแจกรูปสะกดคำ การเขียน
  •   ไม่สอดคล้องกับธรรมชาติการใช้ภาษาของเด็ก
  •  ไม่สอดคล้องกับลักษณะการเรียนรู็ภาษาของเด็ก

"Kenneth Goodman"
     - เสนอแนวทางการสอนภาษาแบบธรรมชาติ
     - มีความเชื่อมโยงระหว่างภาษากับความคิด
     - แนวทางการสอนมีพื้นฐานมาจากการเรียนรู้และธรรมชาติของเด็ก
Goodman
ธรรมชาติของเด็กปฐมวัย

  • สนใจ อยากรู้อยาากเห็นสิ่งรอบตัว
  • ช่างสงสัย ช่างซักถาม
  • มีความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการ
  • ชอบเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ
  • เลียนแบบคนรอบข้าง


2.  การสอนภาษาแบบธรรมชาติ  (Whole Language)
ทฤษฎีที่มีอิทธิพลต่อการสอนภาษาแบบธรรมชาติ

นำไปใช้ประโยชน์
      -   ได้รู้จักนำเอารูปมาผสมกับภาษาทำให้เด็กสนใจที่จะเรียนรู้

วันเสาร์ที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

บันทึกครั้งที่  5

บันทึกอนุทิน
วิชา  การจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน  อ.ตฤณ  แจ่มถิน
วันศุกร์ที่  12  กรกฎาคม  พ.ศ. 2556
ครั้งที่  5  เวลาเรียน  13.10 - 16.40 น.
เวลาเข้าสอน  13.10 น.  เวลาเข้าเรียน 13.00 น. เวลาเลิกเรียน  15.10 น.

อาจารย์ให้นัศึกษาวาดรูปสิ่งของที่ตัวเองรักมากที่สุดตอนเด็กๆแล้วออกมาเล่าให้เพื่อนๆฟัง


ชื่อว่า  ตุ๊กตาบาร์บี้
เป็นตุ๊กตาที่คุณแม่ซื้อให้ตอนเด็กๆ ดิฉันชอบมาก ชอบมานั่งแต่งตัวให้มัน ทำผมให้มันเมันก็หายไปไหนเล่นมาตั้งแต่อยู่  ป.3 เลิกเล่นตอนประมาณ ม.3 ปัจจุบันเจ้าตุ๊กตาก็หายไปไหนแล้วไม่รู้คะ

เรียนเรื่อง  :  องค์ประกอบของภาษา

องค์ประกอบของภาษามี  4  อย่าง
  1. Phonology  คือ เสียง
  2. Semantic
  3. Syntax
  4. Pragmatic  
แนวคิดของนักการศึกษาจะแบ่งเป็น  4  กลุ่ม
  1. แนวคิดกลุ่มพฤติกรรมนิยม
  2. แนวคิดกลุ่มพัฒนาการทางสติปัญญา
  3. แนวคิดกลุ่มที่เชื่อเรื่องความพร้อมของร่างกาย
  4. แนวคิดกลุ่มที่เชื่อว่าภาษาติดตั้งมาตั้งแต่เกิด

แนวคิดของ O. Hobart Mowrer
     เป็นนักคิดค้นทฤษฎีเกี่ยวกับความพึงพอใจ
            -  เกิดจากความสามารถในการฟังและความเพลิดเพลินจากการได้ยินเสียงผู้อื่นและเสียงตัวเอง  เป็งสิ่งสำคัญอย่างยิ่งต่อพัฒนาการทางภาษา

แนวทางในการจัดประสบการณ์ทางภาษา
      -  เป็นคำสั่งที่สะท้อนปรัชญาและความเชื่อของครูเกี่ยวกับการเรียนรู้ภาษาของเด็ก
      -  นำไปสู่การกำหนดกระบวนการที่ใช่อย่างแตกต่างกัน

 Richard  and  Rodger ( 1995 ) ได้แบ่งมุมมองต่อภาษาในการจัดประสบการณ์เป็น 3 กลุ่ม
    1.  มุมมองด้านโครงสร้างของภาษา   
          -  นำองค์ประกอบย่อยของภาษามาใช้ในการสื่อสารความหมาย
          -  เสียงไวยากรณ์  การประกอบคำเป็นวลีหรือประโยค
    2.  มุมมองด้านหน้าที่ของภาษา
          -  เชื่อว่าภาษาเป็นเครื่องมือสำหรับสื่อความหมาย
          -  การจัดประสบการณ์เน้นการสื่อความหมาย
          -  ไม่ได้ละทิ้งแบบแผนหรือไวยากรณ์
    3.  มุมมองด้านปฏิสัมพันธ์
          -  เชื่อว่าภาษาเป็นเครื่องมือในการสร้างความสัมพันธ์ทางสังคม
          -  การแลกเปลี่ยนประสบการณ์
          -  เด็กมีปฏิสัมพันธ์ผ่านการใช้ภาษา




บันทึกครั้งที่  3

บันทึกอนุทิน
วิชา  การจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปบมวัย
อาจารย์ผู้สอน  อ.ตฤณ  แจ่มถิน
วันศุกร์ที่  28  มิถุนายน  พ.ศ. 2556
ครั้งที่ 3  เวลาเข้าเรียน  13.10 - 16.40 น.


วันนี้ไม่มีการเรียนการสอน  เนื่องจากมีการจัดกิจกรรมรับน้องของมหาวิทยาลัย









บันทึกครั้งที่ 2

บันทึกอนุทิน
วิชา  การจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน  อ.ตฤณ  แจ่มถิน
วันศุกร์ที่  21 มิถุนายน  พ.ศ  2556
ครั้งที่  2  เวลาเรียน  13.10 - 16.40 น.
เวลาเข้าสอน  13.10 น. เวลาเข้าเรียน  13.00 น. เลิกเรียน  14.40 น.

เรียนเรื่อง :  ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย

         ภาษา  หมายถึง  การสื่อความหมาย  เป็นเครื่องมือในการแสดงความคิดและความรู้สึก
     
 ความสำคัญของภาษา
  1. ภาษาเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการติดต่อสื่อสาร
  2. ภาษาเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้
  3. ภาษาเป็นเครื่องมือในการสร้างเสริมความเข้าใจอันดีต่อกัน
  4. ภาษาเป็นเครื่องมือในการช่วยจรรโลงจิตใจ
ทักษะทางภาษา
  1. การฟัง
  2. การพูด
  3. การอ่าน
  4. การเขียน
ทฤษฎีพัฒนาการของสติปัญญาของ  Piaget
         การที่เด็กมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมเป็นปัจจัยสำคัญในการพัฒนาการทางด้านภาษาและสติปัญญา 
         กระบวนการเรียนรู้ประกอบด้วย  2  กระบวนการ

  1. การดูดซึม  :  เป็นกระบวณการที่เด็กได้รู้และดูดซึมภาพด้วยประสบการณ์ของตนเอง
  2. การปรับความเข้าใจเดิมให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมใหม่  :  การปรับความรู้เดิมที่มีอยู่ให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมหรือประสบการณ์ใหม่ๆที่ได้รับ


พัฒนาการทางภาษาของเด็ก
         เด็กจะค่อยๆสร้างความรู้ความเข้าใจ  เป็นลำดับขั้นตอน  ครูหรือผู้สอนต้องมีความเข้าใจและยอมรับหากพบเจอเด็กใช้คำศัพท์หรือไวยากรณ์ไม่ถูกต้องคสรบอกว่านั่นเป็นกระบวนการเรียนรู้ภาษาของเด็ก

จิตวิทยาการเรียนรู้
  1. ความพร้อม 
  2. ความแตกต่างระหว่างบุคคล
  3. การจำ
  4. การให้แรงเสริม








บันทึกครั้งที่ 1
บันทึกอนุทิน
วิชา  การจัดประสบการณ์ทงภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน  อาจารย์ตฤณ  แจ่มกิน
วันศุกร์ที่ 14  มิถุนายน  พ.ศ.2556
ครั้งที่ 1 เวลาเรียน 13.10-16.40 น.
เวลาเข้าสอน  13.10 น.  เวลาเข้าเรียน  13.00 น.  เลิกเรียน  16.40 น.


สิ่งที่ได้รับจากการเรียน
  1. ได้เข้าใจความหมายและความสำคัญของพัฒนาการทางภาษาและธรรมชาติของเด็กปฐมวัย
  2. ได้เรียนรู้วิธีการสร้าง Blogger เพื่อเป็นสื่อในการเรียนการสอน
  3. ได้รู้จักการคิดรวบยอดและความคิดออกเป็นข้อๆในหัวข้อเรื่อง  "การจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
การนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
  1. ใช้เป็นเครื่องมือในการผลิตการเรียนการสอน
  2. ใช้ในการประเมินตนเองและเด็กๆได้
  3. ใช้ในการจัดประสบการณ์ด้านการเรียนการสอนได้อย่างถูกต้องเหมาะสมและมีประสิทธิภาพได้
ผลงานกลุ่มค่ะ